มะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรง
(Colorectal Cancer, CRC)

มะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรง (Colorectal Cancer, CRC)
  • มะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรงเป็นมะเร็งที่พบบ่อยและพบได้ทั่วโลก พบผู้ป่วยใหม่กว่าปีละ 1.8 ล้านราย และเสียชีวิตถึง 861,000 ราย ในปี 2018 ตามรายงานขององค์การอนามัยโลก (WHO) จึงเป็นมะเร็งชนิดหนึ่งที่ทั่วโลกต่างให้ความสำคัญ เนื่องจาก
3rd
  • เป็นมะเร็งที่มีจำนวนผู้เสียชีวิตมาก
  • เป็นอันดับ 3 ทั่วโลก
4th
  • พบบ่อยมากเป็นอันดับ 4 ทั่วโลก
50 years
  • ความเสี่ยงในการเป็นมะเร็ง
  • ลำไส้ใหญ่เพิ่มขึ้นอย่างมากหลังจาก
  • อายุ 50 ปี

ทำไมการตรวจพบมะเร็งลำไส้ใหญ่ในระยะเริ่มต้นถึงทำได้ยาก?

มะเร็งลำไส้ใหญ่ในระยะเริ่มต้นมักจะไม่แสดงสัญญาณหรืออาการที่ชัดเจน ซึ่งอาการในระยะแรก ๆ ที่พบบ่อย ได้แก่ ปวดท้อง พฤติกรรมการขับถ่ายเปลี่ยนไป ลักษณะอุจจาระเปลี่ยนไป และน้ำหนักลดโดยไม่ทราบสาเหตุ ซึ่งยากที่ผู้ป่วยจะสังเกตความผิดปกติเหล่านี้ จึงเข้ารับการตรวจวินิจฉัยล่าช้า
ทำไมการตรวจพบมะเร็งลำไส้ใหญ่ในระยะเริ่มต้นถึงทำได้ยาก? ทำไมการตรวจพบมะเร็งลำไส้ใหญ่ในระยะเริ่มต้นถึงทำได้ยาก?

ทำไมการตรวจพบมะเร็งลำไส้ใหญ่
ในระยะเริ่มต้นถึงทำได้ยาก?

มะเร็งลำไส้ใหญ่ในระยะเริ่มต้นมักจะไม่แสดงสัญญาณหรืออาการที่ชัดเจน ซึ่งอาการในระยะแรก ๆ ที่พบบ่อย ได้แก่ ปวดท้อง พฤติกรรมการขับถ่ายเปลี่ยนไป ลักษณะอุจจาระเปลี่ยนไป และน้ำหนักลดโดยไม่ทราบสาเหตุ ซึ่งยากที่ผู้ป่วยจะสังเกตความผิดปกติเหล่านี้ จึงเข้ารับการตรวจวินิจฉัยล่าช้า

ทำไมการตรวจพบมะเร็งลำไส้ใหญ่ ในระยะเริ่มต้นถึงทำได้ยาก?
ใครควรตรวจคัดกรอง มะเร็งลำไส้ใหญ่?

ใครควรตรวจคัดกรอง
มะเร็งลำไส้ใหญ่?

  • ผู้มีอายุมากกว่า 40 ปี
  • เป็นโรคลำไส้เรื้อรัง
  • มีประวัติครอบครัวเป็นมะเร็งลำไส้
  • รับประทานเนื้อแดงและอาหารสำเร็จรูปเป็นประจำ เป็นต้น
  • เป็นโรคอ้วน
  • ดื่มแอลกอฮอล์และสูบบุหรี่เป็นประจำ

วิธีการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ในปัจจุบัน

วิธีการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ในปัจจุบัน

การตรวจลำไส้ใหญ่แบบส่องกล้อง (Colonoscopy)

แนะนำให้ตรวจทุกๆ 5 ปี ในผู้ที่มีความเสี่ยงสูง และทุกๆ 10 ปีในผู้ที่มีความเสี่ยงปกติ

ข้อดี

  • มีความไวและความแม่นยำสูง
  • สามารถตัดติ่งเนื้อ Polyps ที่สงสัย ออกมาตรวจทางห้องปฏิบัติการได้ในระหว่างการส่องกล้อง

ข้อเสีย

  • เป็นการตรวจโดยวิธีรุกล้ำ
  • ต้องตรวจกับแพทย์ในโรงพยาบาลหรือคลินิกเฉพาะทางเท่านั้น
  • มีค่าใช้จ่ายสูง
  • ต้องงดอาหารบางชนิด
  • ต้องสอดกล้องเข้าไปในลำไส้ทางทวารหนัก
  • มีการให้ยาระงับประสาทหรือดมยาสลบ
การตรวจหาเลือดแฝงในอุจจาระ (Fecal Occult Blood)

การตรวจหาเลือดแฝงในอุจจาระ
(Fecal Occult Blood)

แนะนำให้ตรวจ 1-3 ปี/ครั้ง

ข้อดี

  • เป็นการตรวจโดยวิธีไม่รุกล้ำ
  • ราคาถูก
  • สามารถเก็บอุจจาระที่บ้านได้ด้วยตนเอง

ราคาถูก

  • มีความไวในการตรวจพบระยะก่อนมะเร็งต่ำ เพียง 73%
  • อาจเกิดผลลบลวงในผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ ที่ไม่มีแผลเลือดออก
การตรวจความผิดปกติของ DNA-Methylation

การตรวจความผิดปกติของ DNA-Methylation

แนะนำให้ตรวจ 2-3 ปี/ครั้ง

ข้อดี

  • เป็นการตรวจโดยวิธีไม่รุกล้ำ
  • มีความไวสูงในการตรวจพบมะเร็งลำไส้สูงถึง 87%
  • สามารถตรวจพบ DNA ที่ผิดปกติได้ แม้จะยังไม่มีรอยโรค
  • สามารถเก็บอุจจาระที่บ้านได้ด้วยตนเอง

ข้อเสีย

  • ราคาสูงกกว่าการตรวจด้วย FIT/FOBT Test (แต่ราคาถูกกว่าการส่องกล้องที่ลำไส้ใหญ่)